การตรวจประเมินภายในระบบ
ISO 9001 : 2015

การที่องค์กรได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9000 นั้น เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของการมีระบบบริหาร
คุณภาพเท่านั้น ภาระหน้าที่ที่สำคัญต่อไปคือการที่จะต้องรักษาระดับคุณภาพดังกล่าวไว
และพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นอยู่ตลอดเวลา

การตรวจประเมินภายในระบบ ISO 9001 : 2015

การที่องค์กรได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9000 นั้น เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของการมีระบบบริหารคุณภาพเท่านั้น ภาระหน้าที่ที่สำคัญต่อไปคือการที่จะต้องรักษาระดับคุณภาพดังกล่าวไว้ และพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นอยู่ตลอดเวลา ซึ่งหมายถึงการมีระบบการประเมินภายในหรือการตรวจติดตามที่ดีและมีประสิทฺธิภาพ

ระบบการตรวจประเมินภายในที่ดีจะประกอบด้วยปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ “ระบบ” และ “บุคคลากร” ปัจจัยทางระบบ หมายถึง การวางแผน การปฏิบัติตามขั้นตอน การเก็บบันทึก การวิเคราะห์ผล และการปฏิบัติแก้ไขตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐาน ISO 9000 อีกปัจจัยหนึ่งคือ บุคคลากร ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ทั้งผู้ตรวจและ ผู้ถูกตรวจ โดยเฉพาะผู้ตรวจ(Auditor)จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ บุคลิกภาพ และทัศนคติที่ดี จึงจะทำให้การตรวจประเมินประสบผลสำเร็จภายใต้บรรยากาศการทำงานที่สร้างสรรค์ และก่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจกันของบุคคลทุกฝ่าย เพื่อให้สามารถสนับสนุน ผลักดันการพัฒนาระบบให้ดีขึ้นๆอย่างต่อเนื่อง ในปี ค.ศ. 2015 มาตรฐาน ISO 9000 ได้มีการเปลี่ยนแปลงจากฉบับปี 2008 เป็นฉบับใหม่ปี 2015 องค์กรจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงระบบที่จัดทำให้เป็นตามมาตราฐานฉบับปี 2015 ในเวลาที่กำหนด ด้วยการนี้ ผู้ตรวจและทีมงานของบริษัทจะต้องทำความเข้าใจข้อกำหนดที่มีการปรับปรุงใหม่ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้เพื่อจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนและการตรวจระบบขององค์กรได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพต่อไป

ดาวน์โหลดเนื้อหาที่นี่

ประโยชน์ที่ผู้รับการฝึกอบรมจะได้

9

เข้าใจถึงประเด็นที่มีการปรับเปลี่ยนของมาตรฐาน ISO 9000 และทราบข้อกำหนดของมาตรฐานฉบับปี 2015

9

ทราบถึงผลกระทบต่อระบบคุณภาพในปัจจุบันขององค์กร ทราบแนวทางการเปลี่ยนแปลง การจัดทำระบบขององค์กรให้สอดคล้องกับมาตรฐานฉบับใหม่

9

เข้าใจความหมาย ความสำคัญของการตรวจประเมินภายใน

9

เข้าใจขั้นตอนการทำการตรวจประเมินภายใน

9

สามารถทำหน้าที่ของผู้ตรวจประเมินภายในได้

หัวข้ออบรม

9

ทบทวนรายละเอียดระบบมาตรฐาน ISO 9000 ฉบับปี 2015

  • โครงสร้างตัวระบบมาตรฐาน ISO 9000 ฉบับปี 2015
  • คำนิยาม หลักการของระบบ
  • ข้อกำหนดของระบบมาตรฐาน ISO 9000 ฉบับปี 2015
9

การตรวจประเมินภายใน ( Internal Audit)

  • วัตถุประสงค์ของการอบรม
  • คำนิยาม
  • เกณฑ์ของการตรวจประเมิน
  • ประเภทการตรวจประเมิน
  • วัตถุประสงค์ของการตรวจประเมินภายใน
  • คุณสมบัติอันพึงประสงค์ของผู้ตรวจประเมิน
  • ขั้นตอนการตรวจประเมิน
9

การวางแผนงานตรวจประเมิน (Audit Planning)

9

การเตรียมการตรวจประเมิน (Audit Preparation)

9

การดำเนินการตรวจประเมิน (Audit Performance)

9

การรายงานผลการตรวจประเมิน (Audit Reporting)

9

การติดตามผลการปฏิบัติแก้ไขข้อบกพร่อง(Follow up) และการปิดงานการแก้ไข (CAR Close out)

9

กรณีศึกษา (Workshop)

9

ถามตอบ

รูปแบบการอบรม

9

การบรรยาย และการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงมีการประเมินผล และให้ข้อแนะนำเพิ่มเติม โดยมีรูปแบบการนำเสนอ workshop ที่เน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เรียนด้วยกันกับวิทยากร

รูปแบบการอบรม

9

1 วัน

เหมาะกับใคร ?

การจัดฝึกอบรมนั้น องค์กรเราออกแบบพัฒนาหลักสูตรใหม่ๆ ขึ้นเสมอ
เพื่อให้ตรงกับผู้เข้าอบรมมากที่สุด

ระดับผู้บริหาร

ผู้ที่เป็นหัวหน้า หรือ ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจ ซึ่งมีบทบาทอย่างมากในการที่จะส่งผลให้องค์กรประสบความสำเร็จ

ระดับผู้จัดการระดับสูง

ผู้ที่คอยดูองค์กรภาพรวมทั้งหมด เป็นผู้วางแผนเป้าหมายกลยุทธ์ ตลอดจนนโยบายขององค์กรมีความสำคัญในการกำหนดทิศทางขององค์กร

ระดับผู้จัดการระดับกลาง

ผู้ที่คอยทำหน้าที่ประสานงานระหว่างผู้จัดการระดับสูงและผู้จัดการระดับต้น คอยสื่อสารกลยุทธ์ต่างๆและคอยแบ่งงานเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายขององค์กร

ระดับผู้จัดการระดับต้น

ผู้ที่คอยแบ่งงานให้บุคลากรในทีม พร้อมสื่อสารเป้าหมายของทีม เพื่อให้เป้าหมายของทีมสอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กร

ระดับปฏิบัติการอาวุโส

บุคลากรผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละด้านโดยเฉพาะ พร้อมทำงานเพื่อให้องค์กรสามารถพัฒนาได้อย่างเต็มที่

ระดับปฏิบัติการ

บุคลากรผู้ที่พร้อมเรียนรู้ และพัฒนาทักษะต่างๆ เพื่อความก้าวหน้าในอาชีพของตนเอง โดยการพัฒนานั้นต้องสอดคล้องต่อเป้าหมายองค์กร

วิทยากรที่เชี่ยวชาญ

อาจารย์อดิสร ทิวากรกฏ

วิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการขาย การบริหาร และที่ปรึกษาด้านการเงิน

อาจารย์ธันยวีร์ ทรงสุนทร (อ.เอ)

วิทยากรผู้เชี่ยวชาญทางด้านการขาย การบริการ และอื่นๆ

อาจารย์เศรษฐพงศ์ ผดุงพิสุทธิ์ (อ.เซ็ธ)

วิทยากรผู้เชี่ยวชาญทางด้านการขาย การบริการ การบริหารโครงการ และอื่นๆ

อาจารย์ทรงศักดิ์ พุ่มสวัสดิ์ (อ.ป๊อป)

วิทยากรผู้เชี่ยวชาญทางด้านพัฒนาภาวะผู้นำ การโค้ช การนำเสนอ การสื่อสาร และการสร้างแรงจูงใจ

อาจารย์นิภาพันธ พูนเสถียรทรัพย์ (อ.นิ)

วิทยากรผู้เชี่ยวชาญทางด้านการสร้างแรงจูงใจ การวางแผนการเงินและการลงทุน และอื่นๆ

อาจารย์ณษรา สุวศราภรณ์ (อ.ปุ๊ก)

วิทยากรผู้เชี่ยวชาญทางด้านการโค้ช การขาย การบริการ การสร้างแรงจูงใจ การบริหารโครงการ และอื่นๆ

อาจารย์จักรพันธ์ เธียราวัฒน์ (อ.จักร)

วิทยากรผู้เชี่ยวชาญทางด้านพัฒนาภาวะผู้นำ การสร้างแรงจูงใจ การบริหารโครงการ และอื่นๆ